Page 55 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 55
บริิษััท บีทีเอส กริุป โฮลดิ้ิ�งส์ จำำ�กัดิ้ (มห�ชน) 2.4 MIX 53
ริ�ยง�นปริะจำำ�ปี 2564/65
1.3 บีางกอก เพัยุ์เม่นต์ โซื้ล้ช่ันส์ ในปีที่ผ่านมา อุตสาหกรรมสื่อโฆษณาในประเทศไทยเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด
บริษัท บางกอก เพย์เมนต์ โซลูชันส์ จำากัด (บีพีเอส) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2557 โดยสื่อโฆษณาแบบดั้งเดิม เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และวิทยุ มียอดการใช้สื่อ
โดยการร่วมทุนของ วิกซ์ กรุ๊ป (VIX Group) และกลุ่มบีทีเอส โดย VIX เป็นผู้นำาเทคโนโลยี ลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่สื่อโฆษณานอกบ้านและสื่อออนไลน์/สื่อดิจิทัล ได้กลายเป็น
ในด้านระบบขนส่งมวลชนชั้นนำาของโลก และเป็นผู้เชี่ยวชาญในการทำาระบบบริหารจัดการ ตัวเลือกที่สำาคัญสำาหรับนักโฆษณา การขยายตัวของสื่อโฆษณานอกบ้านและสื่อออนไลน์/
รายได้กลาง (Central Clearing House) และระบบการจัดเก็บรายได้ (Automatic Fare ดิจิทัลในช่วงที่ผ่านมาได้รับแรงสนับสนุนจากหลายปัจจัย อันเป็นผลมาจากรูปแบบ
Collection - AFC) การเข้าร่วมทุนกับกลุ่ม VIX ดังกล่าวเป็นการขับเคลื่อนการพัฒนาระบบ การใช้ชีวิตที่เปลี่ยนไปของคนยุคใหม่ เช่น ผู้คนตามเมืองหลวงและหัวเมืองใหญ่ที่นิยม
ซอฟต์แวร์ ทั้งเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับระบบขนส่งมวลชนของประเทศและระบบการชำาระเงิน ใช้เวลาอยู่นอกบ้านกันมากขึ้น นอกจากนี้การเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต
ทั้งนี้ บีทีเอสมีรายได้หลักจาก 3 ช่องทาง ได้แก่ 1) รายได้จากการให้บริการการชำาระเงิน และโทรศัพท์สมาร์ทโฟน (ในปี 2564 อัตราการใช้งานอินเทอร์เน็ตในประเทศไทยคิดเป็น
(การพัฒนา CCH และ AFC) 2) รายได้จากสัญญาการให้บริการและค่าทำานุบำารุง 3) การขาย 77.8% เทียบกับจำานวนประชากรทั้งหมด ในขณะที่ระยะเวลาการใช้งานอินเทอร์เน็ต
2
อุปกรณ์รับชำาระเงินอิเล็กทรอนิกส์ ผ่านอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 414 นาทีต่อวัน ซึ่งมีการเพิ่มขึ้นอย่างเห็นได้ชัด
จากเดิมในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปีที่มีการใช้งานดังกล่าวโดยเฉลี่ยเพียง 300 นาทีต่อวัน)
รวมไปถึงความนิยมในการใช้สื่อทั้งสองประเภท ซึ่งเป็นที่ยอมรับมากขึ้นว่าเป็นเครื่องมือ
2. การุ๊วิเครุ๊าะห์อ๊ตสาหกรุ๊รุ๊ม่
การสื่อสารด้านโฆษณาและการตลาดที่มีประสิทธิภาพและสามารถวัดผลได้
2.1 อ๊ตสาหกรุ๊รุ๊ม่สื�อโฆษณา
ในปี 2564 ธนาคารแห่งประเทศไทยรายงานภาพรวมของเศรษฐกิจไทย (GDP) ซึ่งขยายตัว
เพิ่มขึ้น 1.6% โดยการเติบโตดังกล่าวได้รับปัจจัยสนับสนุนจากการสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่ดีขึ้นด้วยอัตราการได้รับวัคซีนของประชากรไทย
ที่สูงขึ้น ซึ่งนำาไปสู่การผ่อนคลายมาตรการและข้อจำากัดต่างๆ ของรัฐบาล พร้อมทั้ง
การฟื้นตัวของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ด้วยสถานการณ์ดังกล่าวส่งผลให้มูลค่าการใช้จ่าย
สื่อโฆษณาในปี 2564 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปีก่อนหน้า 1.1% มาอยู่ที่ 107,785 ล้านบาท
1
โดยสื่อดิจิทัลและสื่อโทรทัศน์เพิ่มขึ้น 10.7% และ 2.9% จากปีก่อนหน้า มาอยู่ที่ 65,000
ล้านบาท และ 23,315 ล้านบาท ตามลำาดับ ในขณะที่สื่อโรงภาพยนตร์ สื่อโฆษณาดั้งเดิม
(หนังสือพิมพ์ นิตยสาร และวิทยุ) และสื่อโฆษณานอกบ้าน ลดลง 19.1% 13.6% 8.1% จาก
ปีก่อนหน้า มาอยู่ท 3,398 ล้านบาท 7,652 ล้านบาท และ 10,308 ล้านบาท ตามลำาดับ
1 บริษัท เดอะ นีลเส็น คอมปะนี (ประเทศไทย) จำากัด (“นีลเส็น”) และสมาคมโฆษณาดิจิทัล (ประเทศไทย) (“DAAT”)
2 We are social, Hootsuite, มกราคม 2564