Page 86 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 86
84 l บทนำำ� l ลัักษณะก�รประกอบธุุรกิจ l โครงสร้�งองค์กรแลัะผู้้้ถืือหุุ้้นำ l ภาพรวมธุุรกิิจ l ก�รกำ�กับดู้แลักิจก�ร l งบก�รเงินำ l ข้้อมู้ลัอื�นำ ๆ l
การุ๊วิเครุ๊าะห์ผ้้ม่ีส่วนได้เสียุในห่วงโซื้่ค๊ณค่าของธ์๊รุ๊กิจ โดยนโยบายการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่ปรับปรุงแล้ว ครอบคลุมประเด็นดังต่อไปนี้
บีทีเอส กรุ๊ป ให้ความสำาคัญต่อการสร้างสมดุลของประเด็นต่อไปนี้ ได้แก่ การรักษาความสามารถ
ำ
ึ
ำ
ในการทำากาไร การเข้าถึง การสร้างการมีส่วนร่วม การเคารพซ่งสิทธิ รวมถึงการทาความเข้าใจ • ดำาเนินงานและให้บริการภายใต้กรอบการพัฒนาอย่างยั่งยืนและเป็นมิตรต่อ
ประเด็นความคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียเหล่านั้น ตลอดจนการดำาเนินงานเพื่อตอบสนอง สิ่งแวดล้อม
ประเด็นการคาดหวังของผู้มีส่วนได้เสียด้วยความยุติธรรมและความโปร่งใส โดยบริษัทฯ • ปฏิบัติตามกฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม ภายใต้ข้อบังคับและข้อกำาหนดที่เกี่ยวข้อง
ั
ึ
ได้มีการกำาหนด ระบุ และวิเคราะห์ ผู้มีส่วนได้เสียออกเป็น 7 ประเภท ซ่งครอบคลุมท้งในรูปแบบ • ดำาเนินกิจกรรมทางธุรกิจในลักษณะที่ลดผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อ
บุคคลและรูปแบบการจัดตั้งอื่นๆ ทั้งนี้ บริษัทฯ จัดให้มีช่องทางต่างๆ เพื่อให้ผู้มีส่วนได้เสีย สิ่งแวดล้อมตลอดวงจรธุรกิจ
มีส่วนร่วมในการตรวจสอบข้อมูลในแต่ละหัวข้อ และเสริมสร้างความเข้าใจให้แก่ทุกฝ่าย
ได้มากยิ่งขึ้น จากนั้น จึงนำาข้อเสนอแนะมาปรับใช้ในการดำาเนินงานต่อไป นอกจากนี้ บริษัทฯ • มุ่งมั่นที่จะใช้ทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการก่อให้เกิดขยะ ลดการปล่อยมลพิษ
ได้นำามาตรฐาน AA 1000 Stakeholders Engagement Standard (AA1000SES) มาใช้ ลดการปล่อยน้ำาเสียและลดการปล่อยคาร์บอนทั้งทางตรงและทางอ้อม
เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียผ่านหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง รวมถึงมีการออกแบบ • ในการเลือกและจัดหาผู้ผลิต ผู้จัดหาสินค้าและบริการภายนอก รวมถึงพันธมิตรทาง
กระบวนการเพื่อระบุความต้องการและข้อกังวลผ่านกิจกรรมในรูปแบบต่างๆ ธุรกิจและการกระจายสินค้าและการขนส่งมีการพิจารณาถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
• พิจารณาถึงปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมตลอดการตรวจสอบสถานะบริษัทก่อนทำาธุรกรรม
ิ
อ่านรายละเอียดเพ่มเติมเก่ยวกับการมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสียได้ในรายงานความยั่งยืน รวมถึงการเข้าซื้อและการควบรวมกิจการ และหลังการเข้าซื้อและการควบรวมกิจการ
ี
ประจำาปี 2564/65 ของบริษัทฯ บทที่ 2.4 การมีส่วนร่วมของผู้มีส่วนได้เสีย • กำาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ส่งเสริมผลการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อมและ
ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมตลอดห่วงโซ่คุณค่า
ิ
ิ
ื
การุ๊จดการุ๊ดานความ่ยุั�งยุนในม่ตสิงแวดลอม่ • ตรวจสอบว่ามีการกำาหนดความคาดหวังด้านสิ่งแวดล้อมทั่วทั้งองค์กรและมีการ
้
�
้
ั
ปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับการดำาเนินงานอย่างต่อเนื่อง
นโยุบีายุและแนวปฏิิบีัติด้านสิ�งแวดล้อม่
ในปี 2564/65 บริษัทฯ ได้ทบทวนและปรับปรุงนโยบายการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมที่มี • ส่งเสริมความตระหนักด้านสิ่งแวดล้อมให้แก่พนักงานของเราและกับผู้มีส่วนได้เสีย
ภายในและภายนอก ผ่านการฝึกอบรม การแบ่งปันความรู้ รวมถึงสำารวจนวัตกรรมใหม่ๆ
ผลบังคับใช้กับบริษัทย่อยและบริษัทร่วมของบริษัทฯ ทั้งหมด โดยนโยบายการจัดการด้าน เพื่อนำามาเป็นแนวทางการปฏิบัติงานด้านสิ่งแวดล้อม
ี
ำ
สิ่งแวดล้อมท่ประกาศในปี 2563/64 นั้น ได้กำาหนดแนวทางในการดาเนินธุรกิจของกล่มบริษัท
ุ
ให้มีการคำานึงถึงแนวปฏิบัติที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมาย • กำาหนดบทบาทและความรับผิดชอบของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อรองรับว่านโยบาย
และกลยุทธ์ขององค์กรต่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน รวมทั้งเป็นกรอบในการกำาหนดแนวทาง การจัดการสิ่งแวดล้อมได้รับการปฏิบัติ ติดตาม และรายงานอย่างสม่ำาเสมอต่อ
ในการพัฒนาโครงการโครงสร้างพื้นฐานใหม่ๆ เพื่อส่งเสริมและยกระดับคุณภาพชีวิต คณะกรรมการบริษัท ซึ่งกำากับดูแลการปฏิบัติตามนโยบายโดยรวมและการตัดสินใจ
ของประชาชน ซึ่งเป็นไปตามวิสัยทัศน์และพันธกิจของบริษัทฯ ทั้งนี้ นโยบายการจัดการ เพื่อให้มีการปรับปรุงประสิทธิภาพด้านสิ่งแวดล้อมโดยรวม
ด้านสิ่งแวดล้อมนั้น ครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานของพนักงาน คู่ค้าและผู้รับเหมา รวมทั้งผู้มี
ส่วนได้เสียที่เกี่ยวข้อง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติม เกี่ยวกับนโยบายการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมได้ที่
https://www.btsgroup.co.th/u/th/2021/bts-environmental-management