Page 325 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 325

บริษัท บีทีเอส กรุป โฮลดิ้งส์ จำ�กัด (มห�ชน)                                                                           6.4 หม�ยเหตุประกอบงบก�รเงินรวม  323
               ร�ยง�นประจำ�ปี 2564/65




                       132 ล้านบาท รวมถึงค่าปรับและเงินเพิ่มของเงินที่ค้างชำาระในอัตราร้อยละ 18       ทั้งนี้ วีจีไอ  และที่ปรึกษาทางกฎหมายของวีจีไอ  เห็นต่างจากคำาชี้ขาดของ
                       ต่อปี และค่าธรรมเนียมหนังสือค้ำาประกัน (สำาหรับปี 2549-2558) เป็นจำานวน   คณะอนุญาโตตุลาการดังกล่าว โดยเห็นว่า คำาชี้ขาดนั้นมีความคลาดเคลื่อน
                       เงินประมาณ 12 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ซึ่งบีทีเอสซี   ทั้งเรื่องข้อเท็จจริงและประเด็นข้อกฎหมาย ซึ่งเมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2563
                       ได้โต้แย้งคัดค้านว่า บีทีเอสซีไม่มีหน้าที่ต้องชำาระค่าใช้จ่ายดังกล่าว เนื่องจาก  วีจีไอ ได้ใช้สิทธิตามกฎหมายในการยื่นคำาร้องต่อศาลแพ่งเพื่อขอให้เพิกถอน
                       ตามสัญญาสัมปทาน บีทีเอสซี มีสิทธิใช้ที่ดินดังกล่าวในโครงการระบบขนส่ง      คำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ
                       มวลชนกรุงเทพมหานครโดยไม่ต้องรับภาระค่าใช้จ่าย ค่าเช่า ค่าธรรมเนียม
                       และค่าใช้จ่ายอื่นใดที่เกิดขึ้น ซึ่งสถาบันอนุญาโตตุลาการได้มีคำาสั่งจำาหน่าย    ต่อมา  เมื่อวันที่  21  มีนาคม  2565  ศาลแพ่งได้มีคำาพิพากษาให้เพิกถอน
                       ข้อพิพาทออกจากสารบบความชั่วคราว  เพื่อรอฟังผลคำาพิพากษาศาลฎีกา            คำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ ซึ่งไมดาสฯ ได้ขอขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์
                       ในคดีฟื้นฟูกิจการตามข้อ ก) เนื่องจากเป็นมูลหนี้เดียวกัน อย่างไรก็ตาม บีทีเอสซี   ต่อศาล และศาลได้มีคำาสั่งอนุญาตให้ขยายระยะเวลายื่นอุทธรณ์ได้ถึงวันที่ 20
                       ได้บันทึกหนี้สินดังกล่าว (โดยไม่รวมดอกเบี้ย) ไว้ในบัญชีเรียบร้อยแล้ว ต่อมา  มิถุนายน 2565
                       เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2561 ศาลฎีกาได้มีคำาพิพากษาในคดีดังกล่าว และ
                       เจ้าหนี้ได้ถอนข้อเรียกร้องเรื่องค่าธรรมเนียมหนังสือค้ำาประกันออกจากคดี    อนึ่ง เนื่องจากข้อพิพาทดังกล่าวยังไม่เป็นที่สิ้นสุด และฝ่ายบริหารของวีจีไอ
                       อนุญาโตตุลาการแล้ว คงเหลือข้อเรียกร้องเรื่องเงินค่าตอบแทนการใช้ที่ดิน     เชื่อมั่นว่า  วีจีไอ  ได้ปฏิบัติตามข้อกำาหนดแห่งสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นฯ
                       ราชพัสดุ และค่าเช่าอาคาร โดยสถาบันอนุญาโตตุลาการได้สืบพยานและเสร็จสิ้น     อย่างครบถ้วน จึงมิได้บันทึกประมาณการหนี้สินจากข้อพิพาทดังกล่าวไว้ใน
                       การพิจารณาข้อพิพาทในวันที่ 13 พฤศจิกายน 2562 และเมื่อวันที่ 13 มกราคม     งบการเงินสำาหรับปีปัจจุบัน
                       2563  สถาบันอนุญาโตตุลาการได้มีคำาชี้ขาดให้  บีทีเอสซีชำาระเงินจำานวน
                       34 ล้านบาท พร้อมด้วยดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี ของต้นเงินดังกล่าว     อย่างไรก็ตาม วีจีไอ จะมีค่าใช้จ่ายเป็นค่าวิชาชีพทนายความเพิ่มเติม ในกรณี
                       นับแต่วันที่  21  กุมภาพันธ์  2544  เป็นต้นไปจนกว่าจะชำาระเสร็จสิ้นให้แก่   ที่วีจีไอ ชนะคดี โดยจะชำาระต่อเมื่อศาลมีคำาพิพากษาถึงที่สุด โดยมีเงื่อนไข
                       กรุงเทพมหานคร ปัจจุบัน บีทีเอสซีอยู่ระหว่างรอการชำาระหนี้ให้กับเจ้าหนี้   ว่าวีจีไอ ไม่ต้องชำาระค่าเสียหายทั้งหมด หรือบางส่วนแก่ไมดาสฯ

                     ค) เมื่อวันที่ 25 มิถุนายน 2561 ไมดาสฯ ซึ่งเคยเป็นบริษัทร่วมทุนระหว่าง วีจีไอ   ง) เมื่อวันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2561 ไมดาสได้ยื่นฟ้องวีจีไอ และมาสเตอร์ แอด
                       กับบริษัท ดีไลท์ มัลติมีเดีย จำากัด (“ดีไลท์ฯ”) ได้ยื่นคำาเสนอข้อพิพาทต่อสถาบัน  ในความผิดฐานละเมิด พร้อมเรียกค่าเสียหายเป็นเงิน 24 ล้านบาท พร้อม
                       อนุญาโตตุลาการ สำานักงานศาลยุติธรรม ข้อพิพาทหมายเลขดำาที่ 37/2561         ดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี อันเนื่องมาจากการเข้าทำาสัญญาให้บริการ
                       กล่าวอ้างว่าวีจีไอ ปฏิบัติผิดข้อสัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นของไมดาสฯ ฉบับลงวันที่   เวลาโฆษณาออกอากาศบนโครงป้ายโฆษณาจอแอลอีดี 4 จุดติดตั้ง ฉบับลง
                       5 กุมภาพันธ์ 2557 (“สัญญาระหว่างผู้ถือหุ้นฯ”) ซึ่งเป็นสัญญาที่เข้าทำาระหว่าง  วันที่ 31 มกราคม 2560 ระหว่างไมดาสฯ และมาสเตอร์ แอด ซึ่งต่อมาเมื่อ
                        วีจีไอ และดีไลท์ฯ พร้อมเรียกค่าเสียหายเป็นจำานวนเงิน 1,004 ล้านบาท       วันที่ 12 กันยายน 2562 ศาลแพ่งได้พิพากษายกฟ้อง ด้วยเห็นว่าข้อเท็จจริง
                       พร้อมดอกเบี้ยอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี                                        ที่ไมดาสฯ นำาสืบนั้นไม่มีน้ำาหนักให้รับฟังได้ว่า  วีจีไอ และมาสเตอร์ แอด
                                                                                                 ได้ร่วมกันฉ้อฉลให้ไมดาสฯ ได้รับความเสียหายในทางการค้า จึงไม่ถือเป็นการ
                       ต่อมาเมื่อวันที่  7  กุมภาพันธ์  2563  วีจีไอ  ได้รับแจ้งคำาชี้ขาดของคณะ  ละเมิดต่อไมดาสฯ ต่อมาไมดาสฯ ได้ยื่นอุทธรณ์ และเมื่อวันที่ 20 มกราคม
                       อนุญาโตตุลาการ ลงวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2563 วินิจฉัยด้วยคะแนนเสียงข้างมาก   2565 ศาลอุทธรณ์ได้พิพากษายืนตามคำาพิพากษาของศาลชั้นต้น ต่อมาเมื่อวันที่
                       (2  ต่อ  1)  ว่า  วีจีไอ  ปฏิบัติผิดสัญญาและให้วีจีไอ  ชำาระค่าเสียหายให้แก่   5 เมษายน 2565 ศาลฎีกาได้มีคำาสั่งไม่อนุญาตให้ไมดาสฯ ฎีกาคำาพิพากษา
                       ไมดาสฯ เป็นเงินจำานวน 579 ล้านบาท พร้อมดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 7.5 ต่อปี    ของศาลอุทธรณ์  และมีคำาสั่งยกคำาร้องขออนุญาตฎีกาของไมดาสฯ  ดังนั้น
                       นับแต่วันที่ยื่นคำาเสนอข้อพิพาท (กล่าวคือ วันที่ 25 มิถุนายน 2561) จนกว่า  จึงถือว่าคดีถึงที่สุดแล้ว
                       จะชำาระแล้วเสร็จ และเมื่อวันที่ 2 เมษายน 2563 ไมดาสฯ ได้ยื่นคำาร้องขอให้
                       บังคับตามคำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการต่อศาลแพ่ง เพื่อขอให้ศาลแพ่ง
                       มีคำาพิพากษาบังคับให้วีจีไอ ปฏิบัติตามคำาชี้ขาดของคณะอนุญาโตตุลาการ
   320   321   322   323   324   325   326   327   328   329   330