Page 47 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 47

บริิษััท บีทีเอส กริุป โฮลดิ้ิ�งส์ จำำ�กัดิ้ (มห�ชน)                                                                                2.3 MOVE  45
               ริ�ยง�นปริะจำำ�ปี 2564/65




               เพื่อรองรับจำานวนผู้โดยสารที่เพิ่มขึ้นของโครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก   ทั้งนี้ รถไฟฟ้าทุกขบวนของสายสีทองจะควบคุมด้วยระบบขับเคลื่อนอัตโนมัติแบบไร้คนขับ
               และส่วนต่อขยาย (สายสีลมและสายสุขุมวิท) บีทีเอสซีได้เพิ่มขบวนรถไฟฟ้า เป็น 52 ขบวน   (Unattended Train Operation: UTO) หรือ ระบบควบคุมด้วยพนักงานขับรถ (Manual
               ขบวนละ 4 ตู้ โดยรถไฟฟ้า 1 ขบวน จะสามารถรับผู้โดยสารได้สูงสุด 1,490 คน แบ่งเป็น   ATP mode: MATP) โดยมีระบบควบคุมการเดินรถแบบอัตโนมัติ (Vehicle Automatic
               ผู้โดยสารนั่ง 168 คน และผู้โดยสารยืน 1,322 คน รายละเอียดของการเพิ่มจำานวนรถไฟฟ้า  Train Operation: VATO) คอยควบคุมการเดินรถ ภายใต้ระบบนี้ จะไม่ใช้พนักงานขับรถ
               มีดังนี้ (i) เพิ่มขบวนรถไฟฟ้าจากซีอาร์อาร์ซี จำานวน 12 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ ในเดือน
               กุมภาพันธ์ 2554 (ii) เพิ่มตู้โดยสารจากกลุ่มบริษัทซีเมนส์ จำานวน 35 ตู้ ทำาให้รถไฟฟ้า     (ii) รุ๊ะบีบีอาณัติสัญญาณ (Signaling System)
               35 ขบวนเดิม ขบวนละ 3 ตู้ เปลี่ยนเป็นขบวนละ 4 ตู้ ในเดือนพฤษภาคม 2556 และ     ระบบอาณัติสัญญาณได้ถูกออกแบบเพื่อให้ระบบรถไฟฟ้ามีความปลอดภัย  และมี
                                            ำ
                    ิ
               (iii) เพ่มขบวนรถไฟฟ้าจากซีอาร์อาร์ซี จานวน 5 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ ในเดือนธันวาคม 2556  ประสิทธิภาพในการดำาเนินงาน ระบบอาณัติสัญญาณจะอาศัยเครือข่าย Internet Protocol -
                                                                                         Based Network และส่งสัญญาณควบคุมผ่านระบบการสื่อสาร ไร้สาย (WiFi) ไปยัง
               นอกจากนี้ ในเดือนพฤษภาคม 2559 บีทีเอสซีได้ลงนามในสัญญาจัดซื้อรถไฟฟ้าเพิ่มเติม  รถไฟฟ้า และแลกเปลี่ยนข้อมูลกันทั้ง 2 ทิศทาง โดยข้อมูลจะถูกเชื่อมต่อและส่งไปยัง
               อีกจำานวน 46 ขบวน ขบวนละ 4 ตู้ รวมทั้งอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง จากกลุ่มบริษัทซีเมนส์ และ  ศูนย์ควบคุมหลัก นอกจากนี้ ระบบอาณัติสัญญาณมีคุณสมบัติป้องกันเหตุขัดข้อง (Fail-Safe)
               ซีอาร์อาร์ซี คิดเป็นจำานวนเงินทั้งสิ้นประมาณ 270 ล้านยูโร (ไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม) เพื่อ  และระบบสำารองฉับพลัน (Hot Standby) โดยหากเกิดเหตุขัดข้อง รถไฟฟ้าจะยังคง
               รองรับจำานวนผู้โดยสารที่เพิ่มขึ้นของโครงการรถไฟฟ้าข้างต้น และโครงการรถไฟฟ้าส่วน  สามารถปฏิบัติงานต่อไปได้ในทิศทางหรือเส้นทางใดเส้นทางหนึ่งได้อย่างปลอดภัย
               ต่อขยายสายสีเขียวเหนือและสายสีเขียวใต้ ทำาให้ในปัจจุบันบีทีเอสซีมีรถไฟฟ้าที่ให้บริการ  ด้วยความเร็วระดับปกติ
               ทั้งหมดจำานวน 98 ขบวน โดยในจำานวนรถไฟฟ้า 46 ขบวน แบ่งเป็นขบวนรถไฟฟ้าจาก
               กลุ่มบริษัทซีเมนส์ จำานวน 22 ขบวน และขบวนรถไฟฟ้าจากซีอาร์อาร์ซี จำานวน 24 ขบวน  ทั้งนี้ จากเหตุการณ์ระบบอาณัติสัญญาณขัดข้องเมื่อปี 2561 ซึ่งส่งผลให้ระบบการเดินรถ
                                                                                         มีปัญหาทั้งระบบนั้น  มีสาเหตุมาจากการขัดข้องของอาณัติสัญญาณซึ่งเกิดขึ้นจาก
               ขบวนรถไฟฟ้าสายสีทอง                                                       เนทเวอร์คสวิตซ์ (Network Switch) ทำางานไม่ปกติ จึงก่อให้เกิดการไหลเวียนของข้อมูล
               ในเดือน ธันวาคม 2563 บีทีเอสซี ได้ทำาการเปิดให้บริการรถไฟฟ้าสายสีทอง โดยเชื่อมต่อ  ในเครือข่ายการสื่อสาร (Network Data Loop) และทำาให้ระบบเกิดปัญหา จากเหตุการณ์
               กับสถานีกรุงธนบุรี ของสายสีลม โดยใช้ขบวนรถไฟฟ้า 3 ขบวน ขบวนรถทั้งหมดผลิตโดย  ดังกล่าว บีทีเอสซีได้ทำาการปรับปรุงระบบเครือข่ายเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการจำากัด
                                                                                                                      ึ
                                                                                                                                                    ื
               บริษัทพีบีทีเอส (Puzhen Bombardier Transportation System: PBTS) ใน 1 ขบวน  ขอบเขตไว้เป็นบริเวณ (Firewall Zone) ซ่งจะทำาให้การให้บริการเดินรถในบริเวณอ่นยังสามารถ
                                                                                          ำ
               ประกอบด้วย 2 ตู้โดยสาร แต่ละขบวนสามารถรับผู้โดยสารได้สูงสุด 352 คน แบ่งเป็น   ดาเนินการได้ตามปกติ หากระบบเนทเวอร์คมีปัญหาใน บริวณใด บริวณหนึ่ง นอกจากนี้
               ผู้โดยสารนั่ง 38 คน และผู้โดยสารยืน 314 คน ขบวนรถไฟฟ้าใช้มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ  บีทีเอสซี ยังได้ดำาเนินการเปลี่ยนระบบการรับส่งคลื่นสัญญาณวิทยุจาก Motorola เป็น
               ในการขับเคลื่อน โดยจะรับกระแสไฟฟ้าตรงจากรางจ่ายไฟฟ้าและรับระบบกราวด์จากราง  Moxa Radio ซึ่งเป็นการรับส่งข้อมูลระหว่างอุปกรณ์ไร้สายที่มีตัวควบคุมการโรมมิ่ง เพื่อ
               จ่ายกราวด์ (Ground Rail) ที่อยู่ตรงกลางระหว่างทางวิ่ง (Running Path) และสามารถ  ช่วยให้การโรมมิ่งระหว่าง Intelligent Access Point (IAP) มีความรวดเร็วมากขึ้น อีกทั้ง
               ขับเคลื่อนด้วยความเร็วสูงสุด 80 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟฟ้ามีความเร็วเฉลี่ยในการให้  ยังมีช่องความถี่ให้เลือกใช้ได้มากขึ้นและสามารถปรับ Bandwidth ของช่องสัญญาณ
               บริการรวมเวลาจอดรับ-ส่งผู้โดยสารอยู่ที่ประมาณ 21 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ตู้โดยสารทุกตู้  ให้แคบลงเพื่อลดการแทรกของสัญญาณจากอุปกรณ์ภายนอกที่ใช้ความถี่ในย่านเดียวกัน
               ติดตั้งที่นั่งจำานวน 4 ชุด ตามแนวยาวของขบวนรถไฟฟ้าและเครื่องปรับอากาศ 2 เครื่อง   และยังมีการติดตั้งตัวกรองความถี่ (Bandpass Filter) เพื่อช่วยป้องกันสัญญาณรบกวน
               ตู้โดยสารไม่สามารถเชื่อมต่อหากันได้ ล้อของขบวนรถไฟฟ้าจะเป็นชนิดล้อยาง โดยจะมี   จากความถี่ในย่านใกล้เคียงและทำาให้การรับส่งข้อมูลมีความถูกต้องและรวดเร็วมากที่สุด
               8 ล้อต่อ 1 ขบวน และในชุดล้อจะติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันยางแบน (Run Flat) อยู่ภายใน
               เพื่อความปลอดภัยของผู้โดยสารขณะใช้บริการ
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52