Page 35 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 35
บริิษััท บีทีเอส กริุป โฮลดิ้ิ�งส์ จำำ�กัดิ้ (มห�ชน) 2.3 MOVE 33
ริ�ยง�นปริะจำำ�ปี 2564/65
พัฒนาการสำคัญในป 2564/65
เปดใหบร�การรถไฟฟาสวนตอขยายสายสีเข�ยว การกอสรางโครงการรถไฟฟาสายสีชมพู กลุมกิจการรวมคาบีบีเอส (บีทีเอส กรุป ถือหุน กลุมกิจการรวมคาบีจ�เอสอาร (บีทีเอส กรุป
เหนือ (หมอช�ต - คูคต 16 สถานี ระยะทาง และสายสีเหลืองใกลแลวเสร็จ โดยมีความ ในสัดสวน 35%) ลงนามในสัญญารวมลงทุน ถือหุนในสัดสวน 40%) ไดเร�่มการกอสราง
19.0 กม.) ครบทั�งสาย สงผลใหรายไดจากการ คืบหนาการกอสรางอยูที่ 90% และคาดวาจะ โครงการพัฒนาสนามบินนานาชาติอูตะเภา ดานเก็บเง�น และระบบตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
ใหบร�การเดินรถและซอมบํารุง (O&M) เติบโต เปดใหบร�การเต็มสายไดในป 2566 กับสํานักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา ในโครงการทางหลวงพิเศษระหวางเมือง
18% จากปกอนเปน 6.3 พันลานบาท พิเศษภาคตะวันออก (สกพอ.) โดยคาดวาจะเร�่ม (Intercity Motorways) ทั�ง 2 โครงการ
การกอสรางไดในชวงคร�่งปหลังของป 2565 ไดแก M6 บางปะอิน - นครราชสีมา และ M81
ื
บางใหญ - กาญจนบุร� เม่อเดือนมกราคม
ป 2565 ที่ผานมา
ปี 2564/65 ถือเป็นอีกปีหนึ่งที่เป็นก้าวสำาคัญของกลุ่มธุรกิจ MOVE จากการที่เรายัง ท่ามกลางสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ธุรกิจ MOVE ของเรายังคงมี
ื
ื
คงขยายธุรกิจระบบขนส่งทางรางอย่างต่อเน่อง โดยเมอวันที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564 ความยืดหยุ่นโดยสามารถสร้างอัตราการทำากำาไรขั้นต้นเพิ่มขึ้นมาอยู่ที่ระดับ 23.1%
่
้
่
ี
้
คณะกรรมการและคณะผู้บริหารบริษัทฯ ของกลุ่มบีทีเอส ไดเขาเยยมชมการทดสอบ เมื่อเทียบกับ 17% ในปี 2563/64 ทั้งนี้ เนื่องมาจากการรับรู้รายได้จากการให้บริการติดตั้ง
้
ี
เดนรถไฟฟาโมโนเรลสายสเหลอง ตั้งแต่โรงจอดและซ่อมบำารุงจนถึงสถานีศรีนุช (Y13) งานระบบและการจัดหารถไฟฟ้าขบวนใหม่สำาหรับโครงการส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ
ื
ิ
โครงการรถไฟฟ้าสายสีเหลืองครอบคลุมตั้งแต่ สถานีลาดพร้าว – สำาโรง ระยะทางรวม ที่ลดลง ประกอบกับการเพิ่มขึ้นของรายได้ O&M จำานวน 6.3 พันล้านบาท จากการรับรู้
30.4 กิโลเมตร 23 สถานี ขณะที่โครงการรถไฟฟ้าสายสีชมพู ช่วงแคราย – มีนบุรี รายได้แบบเต็มปีจากการเปิดให้บริการส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ และการเพิ่มขึ้น
วิ่งระยะทางรวม 34.5 กิโลเมตร 30 สถานี ซึ่งเราคาดว่าสายสีเหลืองและสีชมพูจะเปิดให้ ตามสัญญาของค่าจ้างเดินรถและซ่อมบำารุงส่วนต่อขยายสายสีเขียวเดิมและส่วนต่อขยาย
บริการเต็มสายภายในปี 2566 ปัจจุบัน BTS มีเครือข่ายระบบขนส่งมวลชนทางราง สายสีเขียวใต้
ทั่วกรุงเทพฯ ในประเทศไทย ระยะทางรวมทั้งหมด 135 กิโลเมตร
อย่างไรก็ดี บริษัทฯ รับรู้ส่วนแบ่งขาดทุนจากเงินลงทุนใน BTSGIF ที่ 29 ล้านบาท
นอกจากนี้เรายังเห็นความคืบหน้าในส่วนของธุรกิจระบบคมนาคมขนส่งอื่นๆ เช่นเดียวกัน เทียบกับการรับรู้ส่วนแบ่งกำาไรจำานวน 235 ล้านบาทในปีก่อน เป็นผลมาจากการลดลง
เมื่อวันที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2565 ได้ดำาเนินการก่อสร้างโครงการทางหลวงพิเศษ ของรายได้ค่าโดยสารของรถไฟฟ้าสายหลักตามจำานวนเที่ยวการเดินทางที่ลดลง 40.6%
ระหว่างเมือง 2 โครงการ ได้แก่ M6 (บางปะอิน – นครราชสีมา) และ M81 (บางใหญ่ – จากปีก่อน มาอยู่ที่ 74.2 ล้านเท่ยวคน) ซ่งเป็นผลมาจากการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
ี
ึ
กาญจนบุรี) ที่อยู่ภายใต้การดำาเนินงานของกิจการร่วมค้า บีจีเอสอาร์ (บีทีเอส กรุ๊ป ทั้งนี้ การลดลงของรายได้ค่าโดยสารบางส่วนถูกชดเชยด้วยการเพิ่มขึ้นของอัตรา
ถือหุ้น 40%) โดยมีการติดตั้งระบบไม้กั้น และบริหารระบบเก็บค่าผ่านทาง รวมถึงการจัดการ ค่าโดยสารเฉลี่ย 8.3% จากปีก่อน เป็น 32.2 บาทต่อเที่ยว
ระบบควบคุมการจราจรแล้ว คาดว่าจะเริ่มดำาเนินการเชิงพาณิชย์ได้ในป 2568
ส่วนท่าอากาศยานนานาชาติสนามบินอู่ตะเภา ภายใต้กิจการร่วมค้าบีบีเอส (บีทีเอส กรุ๊ป
ถือหุ้น 35%) คาดว่าจะได้รับหนังสือแจ้งเพื่อให้ดำาเนินการก่อสร้าง (NTP) ภายในช่วง
สิ้นปี 2565 และภายหลังจากนั้นจึงจะเริ่มดำาเนินการก่อสร้างได้