Page 37 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 37

บริิษััท บีทีเอส กริุป โฮลดิ้ิ�งส์ จำำ�กัดิ้ (มห�ชน)                                                                                2.3 MOVE  35
               ริ�ยง�นปริะจำำ�ปี 2564/65





                     อัตรุ๊าค่าโดยุสารุ๊ในรุ๊ะบีบีรุ๊ถไฟฟ้าสีเขียุวสายุหลัก              การุ๊ปรุ๊ะเม่ินปรุ๊ะสิทีธ์ิภาพัในการุ๊ดำาเนินงานของรุ๊ถไฟฟ้าบีีทีีเอสในปี 2563/64

               ในช่วงแรก สัญญาสัมปทานกำาหนดโครงสร้างค่าโดยสารแบบราคาเดียว (Flat fare) ซึ่งต่อมา   บีทีเอสซี ในฐานะผู้ให้บริการรถไฟฟ้าบีทีเอส ยังคงรักษาความปลอดภัยและการให้บริการที่
               ได้ถูกแก้ไขให้เป็นการเรียกเก็บแบบตามระยะทางของการเดินทาง (Distance Based   ได้มาตรฐานอย่างต่อเนื่อง โดยมีตัวชี้วัดหลักในการประเมินประสิทธิภาพในการดำาเนินงาน
               Fare Structure) ค่าโดยสารที่บีทีเอสซีเรียกเก็บต่อเที่ยวสำาหรับการเดินทางระหว่าง  ได้แก่ ความน่าเชื่อถือของการให้บริการ ความน่าเชื่อถือของรถไฟฟ้า และความน่าเชื่อถือ
               สองสถานีในระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลัก คือ ค่าโดยสารที่เรียกเก็บได้     ของตั๋วโดยสาร ซึ่งความน่าเชื่อถือของการให้บริการวัดจากเปอร์เซ็นต์ค่าความตรงต่อ
               (Effective Fare) ภายใต้สัญญาสัมปทาน โดยจะต้องไม่เกินกว่าเพดานอัตราค่าโดยสาร   เวลาในการเดินทางของผู้โดยสาร (Passenger Journey) โดยมีเป้าหมายในการวัดคือ
               สูงสุดที่อาจเรียกเก็บได้ (Authorised Fare) ซึ่งมีผลใช้บังคับอยู่ในขณะนั้น ในส่วนของ  ผู้โดยสารจะต้องเดินทางได้ตรงเวลาไม่น้อยกว่า 99.5% เมื่อเทียบกับความล่าช้าที่เกิดขึ้น
               การปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได้จากการเพิ่มขึ้นครั้งก่อนในเดือน  ที่กินเวลาตั้งแต่ 5 นาทีขึ้นไป ทั้งนี้ ความน่าเชื่อถือของการให้บริการในปี 2564/65
               มีนาคม 2556 ตามที่ดัชนีราคาผู้บริโภคได้เพิ่มสูงกว่า 5% ในเดือนกันยายน 2564 จากนั้น   เฉลี่ยอยู่ที่ 99.9% ตัวชี้วัดต่อมาคือ ความน่าเชื่อถือของรถไฟฟ้า วัดจากระยะทางก่อนที่
               ทางบีทีเอสซี สามารถขอปรับเพดานอัตราค่าโดยสารสูงสุดที่อาจเรียกเก็บได้กับทาง กทม.   จะเกิดการขัดข้อง โดยเป้าหมาย ที่ตั้งไว้คือไม่น้อยกว่า 35,000 ตู้กิโลเมตรต่อการขัดข้อง
               โดยเพิ่มขึ้นได้อีก 7% เป็น 21.5 - 64.5 บาทต่อเที่ยว (จากเดิม 20.1 - 60.3 บาทต่อเที่ยว)   1 ครั้ง โดยในปี 2564/65 อยู่ที่ 162,123 ตู้กิโลเมตรต่อการขัดข้อง 1 ครั้ง ซึ่งสูงกว่า
               ซึ่ง  กทม.  รับทราบคำาขอในเดือนเมษายน  2565  อย่างไรก็ตาม  อัตราค่าโดยสารที่   เป้าหมายที่ตั้งไว้ ตัวชี้วัดสุดท้ายคือ ความน่าเชื่อถือของตั๋วโดยสาร วัดได้จากจำานวน
               เรียกเก็บได้ยังคงไม่เปลี่ยนแปลง อยู่ที่ 16 - 44 บาทต่อเที่ยว              เที่ยวการเดินทางก่อนพบการผิดพลาด รวมถึงการขัดข้องของอุปกรณ์และจากการใช้บัตร
                                                                                         โดยสารผิดวิธี โดยเป้าหมายที่ตั้งไว้นั้นจะต้องไม่น้อยกว่า 15,000 ครั้งต่อการขัดข้อง 1 ครั้ง
               รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถดูได้ในรายงานประจำาปีของ BTSGIF                  โดยความน่าเชื่อถือของตั๋วโดยสาร  สำาหรับปี  2564/65  อยู่ที่  195,781  ครั้งต่อ
                                                                                         การขัดข้อง 1 ครั้ง ถือว่าทำาได้ดีกว่าเป้าหมายที่คาดการณ์ไว้ (ตารางที่ 2)


                                                   ี
                      ี
                                                        ี
                      �
               ตารุ๊างที 2: ปรุ๊ะสิทีธ์ิภาพัในการุ๊ดำาเนินงานเปรุ๊ยุบีเทียุบีกับีเป้าหม่ายุ
                                ตัวช่ี้วัดปรุ๊ะสิทีธ์ิภาพั                          เป้าหม่ายุ                         2563/64                2564/65
                ความน่าเชื่อถือของการให้บริการ                  ไม่น้อยกว่า 99.5% ต่อความล่าช้าตั้งแต่ 5 นาทีขึ้นไป       99.9%                 99.9%
                วัดจากความตรงต่อเวลาในการเดินทางของผู้โดยสาร
                ความน่าเชื่อถือของรถไฟฟ้า                       ไม่น้อยกว่า 35,000 ตู้กิโลเมตรต่อการขัดข้อง             156,089                162,123
                ความน่าเชื่อถือของตั๋วโดยสาร                    ไม่น้อยกว่า 15,000 ครั้งต่อการขัดข้อง                   194,678                195,781

               โครงการรถไฟฟ้าส่วนต่อขยายสายสีเขียว 1                                     โครงการรถไฟฟ้าส่วนต่อขยายสายสีเขียว 2
               โครงการรถไฟฟ้าส่วนต่อขยายจากระบบรถไฟฟ้าสีเขียวสายหลัก ระยะทาง 12.75 กิโลเมตร   เดือนมีนาคม  2560  บีทีเอสซีได้ลงนามในสัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบำารุง
               เริ่มเปิดให้บริการในปี  2552 ประกอบไปด้วยส่วนต่อขยาย 2 เส้นทางคือ ส่วนต่อขยาย   โครงการรถไฟฟ้าส่วนต่อขยาย ครอบคลุมระยะเวลา 25 ปี (2560-2585) ระยะทางรวม
               สายสีลม (สะพานตากสิน - บางหว้า ระยะทาง 7.45 กิโลเมตร 6 สถานี) และส่วนต่อ  32.0 กิโลเมตร ประกอบด้วย 2 เส้นทาง ได้แก่ ส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ (แบริ่ง - เคหะฯ
               ขยายสายสุขุมวิท (อ่อนนุช - แบริ่ง ระยะทาง 5.3 กิโลเมตร 5 สถานี) ต่อมาในปี 2555     ระยะทาง 13.0 กิโลเมตร) และส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ (หมอชิต - คูคต ระยะทาง 19.0
               บีทีเอสซีได้ลงนามในสัญญากับเคทีในการให้บริการเดินรถและซ่อมบำารุงส่วนต่อขยาย  กิโลเมตร) โดยส่วนต่อขยายสายสีเขียวใต้ได้เปิดให้บริการอย่างเต็มรูปแบบครบทั้ง 9
               ดังกล่าวเป็นเวลา 30 ปี (2555-2585) ทั้งนี้ สัญญาการให้บริการเดินรถและซ่อมบำารุงนี้   สถานีเป็นที่เรียบร้อยแล้ว เมื่อวันที่ 6 ธันวาคม 2561 สำาหรับส่วนต่อขยายสายสีเขียวเหนือ
               จะครอบคลุมถึงงานรับจ้างเดินรถและซ่อมบำารุงระบบโครงการรถไฟฟ้าสีเขียวสายหลัก   ได้เปิดให้บริการครบทั้ง 16 สถานี เมื่อวันที่ 16 ธันวาคม 2563
               ระยะทาง 23.5 กิโลเมตรภายหลังครบกำาหนดอายุสัญญาสัมปทานในเดือนธันวาคม 2572
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42