Page 100 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 100
98 l บทนำำ� l ลัักษณะก�รประกอบธุุรกิจ l โครงสร้�งองค์กรแลัะผู้้้ถืือหุุ้้นำ l ภาพรวมธุุรกิิจ l ก�รกำ�กับดู้แลักิจก�ร l งบก�รเงินำ l ข้้อมู้ลัอื�นำ ๆ l
ความ่เสี�ยุงจากการุ๊แพัรุ๊่รุ๊ะบีาดของโรุ๊ค COVID-19 ทางการเงินเพิ่มมากขึ้น นอกจากนี้ รายได้หลักส่วนหนึ่งของบริษัทฯ มาจากเงินปันผลจาก
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค COVID-19 ที่สะท้อนมายังนโยบายต่าง ๆ ของภาครัฐ บริษัทย่อยและบริษัทในเครือ รวมถึงกองทุน BTSGIF ดังนั้น หากบริษัทย่อย บริษัทในเครือ
ที่ประกาศออกมาเพื่อควบคุมสถานการณ์การแพร่ระบาดดังกล่าว อาทิ การขอความร่วมมือ หรือกองทุน BTSGIF มีผลการดำาเนินงานไม่เป็นไปตามคาดการณ์ อาจส่งผลกระทบ
จากประชาชนในการจำากัดการเดินทางและลดการอยู่ร่วมกันในพื้นที่แออัด ได้ส่งผลกระทบ ต่อสภาพคล่องและผลการดำาเนินงานของบริษัทฯ ได้
ต่อความเชื่อมั่นของประชาชนในการใช้บริการระบบขนส่งมวลชน รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมของผู้บริโภค รวมไปถึงการชะลอตัวของภาคการท่องเที่ยว โดยในปี 2564/65 ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565 บริษัทมีเงินสดจำานวน 4.1 พันล้านบาท มีสินทรัพย์ทางการเงิน
ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดของสายพันธุ์เดลต้า ทำาให้จำานวนเที่ยวการเดินทาง หมุนเวียนอื่นจำานวน 1.0 พันล้านบาท และทางกลุ่มบริษัทจะได้รับเงินจากการที่วีจีไอ
ในระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกรุงเทพสายหลักลดลง 41% จากปีก่อน ออกหุ้นสามัญเพิ่มทุนจำานวน 12.9 พันล้านบาท รวมเป็น 18.0 พันล้านบาท และมีวงเงินสินเชื่อ
จากธนาคารพาณิชย์ต่าง ๆ ประมาณ 25.5 พันล้านบาท เมื่อเทียบกับภาระหนี้ระยะสั้น
กลุ่มบริษัทได้มีการจัดตั้งคณะทำางานเกี่ยวกับการบริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของ จำานวน 37.6 พันล้านบาท และภาระในการชำาระหนี้ระยะยาวในช่วง 8 เดือนข้างหน้าประมาณ
COVID-19 เพื่อบริหารจัดการและติดตามสถานการณ์การแพร่ระบาดอย่างใกล้ชิดและ 1.8 พันล้านบาท และค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย 2.6 พันล้าน รวมเป็น 42.0 พันล้านบาท บริษัทฯ
มีประสิทธิภาพ โดยได้จัดทำาแผนรับมือการแพร่ระบาดและนำามาปรับใช้จริง ซึ่งกำาหนด มีเงินสด สินทรัพย์ทางการเงินหมุนเวียน และวงเงินสินเชื่อเพื่อบริหารความต้องการใช้เงิน
มาตรการด้านสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน คู่ค้า และผู้โดยสาร เช่น การกำาหนด สำาหรับชำาระภาระหนี้ระยะสั้น ภาระหนี้ระยะยาวที่จะครบกำาหนด และค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย
มาตรการระยะห่างทางสังคม (Social Distancing) การตรวจวัดอุณหภูมิ การจัดเตรียม ได้อย่างเพียงพอสำาหรับช่วงเวลา 8 เดือนข้างหน้า
แอลกอฮอล์ล้างมือ การสวมใส่หน้ากากอนามัย และการทำาความสะอาดและฉีดพ่นน้ำายา
ฆ่าเชื้อโรคภายในสถานีรถไฟฟ้าและขบวนรถไฟฟ้า เป็นต้น อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ ไม่อาจ อย่างไรก็ตาม ณ วันที่ 6 พฤษภาคม 2565 บริษัทฯ ได้ออกหุ้นกู้ส่งเสริมความยั่งยืน จำานวน
ประเมินได้ว่า สถานการณ์ดังกล่าวจะกลับสู่ภาวะปกติภายในระยะเวลาอันใกล้หรืออาจมี 11.0 พันล้านบาท ทำาให้ ณ วันที่ 31พฤษภาคม 2565 บริษัทฯมีภาระหนี้สินระยะสั้นจำานวน
การแพร่ระบาดระลอกใหม่ซึ่งอาจส่งผลให้สถานการณ์ดังกล่าวยืดเยื้อออกไป ซึ่งสาเหตุ 22.9 พันล้านบาท ลดลง 14.7 พันล้านบาท ส่งผลให้บริษัทฯ มีความเสี่ยงด้านสภาพคล่อง
ดังกล่าวอาจส่งผลกระทบในทางลบต่อธุรกิจ ทั้งในด้านของผลการดำาเนินงาน และโอกาส ในระดับต่ำาเนื่องจากบริษัทฯ มีเงินสด สินทรัพย์ทางการเงินหมุนเวียน และวงเงินสินเชื่อเพื่อ
ทางธุรกิจของกลุ่มบริษัท รายละเอียดเพิ่มเติมสามารถพิจารณาในหัวข้อ 4.4 การวิเคราะห์ บริหารความต้องการใช้เงินในช่วงเวลา 18 เดือนข้างหน้าได้อย่างเพียงพอ
และคำาอธิบายของฝ่ายจัดการของรายงานฉบับนี้ ทั้งนี้ บริษัทฯ คาดว่าสถานการณ์การแพร่
ระบาดของโรค COVID-19 จะคลี่คลายลงภายหลังจากที่ภาครัฐเริ่มประกาศให้ COVID-19 ความ่เสี�ยุงด้านเครุ๊ดิต
เป็นโรคประจำาถิ่น ประกอบกับการฉีดวัคซีนให้กับประชาชนที่มีความคืบหน้าไปอย่างมาก ความเสี่ยงด้านเครดิต คือ ความเสี่ยงที่เกิดจากการที่ลูกหนี้หรือคู่สัญญาไม่สามารถชำาระหนี้
ซึ่งจะสามารถช่วยลดผลกระทบจากการแพร่ระบาดได้รวมถึงการที่ประชาชนเริ่มคุ้นเคย หรือปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ตกลงไว้ได้ ณ วันที่ 31 มีนาคม 2565 กลุ่มบริษัทมีลูกหนี้ภาครัฐ
กับการใช้ชีวิตในยุค New Normal ซึ่งคาดว่าจะทำาให้ธุรกิจต่างๆ ได้รับผลกระทบลดลง 89.5 พันล้านบาท และมีลูกหนี้จากการค้าและลูกหนี้อื่น ๆ 1.1 พันล้านบาท โดยบริษัทฯ
เชื่อมั่นว่าภาครัฐจะมีความสามารถในการชำาระหนี้คืนได้ทั้งหมด สำาหรับลูกหนี้การค้าและ
ความ่เสี�ยุงด้านการุ๊เงิน ลูกหนี้อื่น ๆ นั้น บริษัทฯ มีการติดตามลูกหนี้ให้ชำาระเงินเป็นประจำา นอกจากนั้นยังไม่มีการ
ความ่เสี�ยุงด้านสภาพัคล่อง กระจุกตัวของลูกหนี้เนื่องจากกลุ่มบริษัทมีฐานของลูกค้าที่หลากหลายและมีจำานวนมากราย
ดงนัน บริษัทฯ จึงไม่คาดว่าจะได้รับความเสียหายที่มีนัยสำาคัญจากการให้สินเชื่อทางการค้า
้
ั
การบริหารสภาพคล่อง คือ ความสามารถในการบริหารกระแสเงินสดของบริษัทฯ เพื่อชำาระ
ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ย ชำาระคืนหนี้ และเงินลงทุนในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง
ซึ่งหากบริษัทฯ มีความจำาเป็นต้องใช้เงินทุนหมุนเวียนหรือเงินลงทุนเพิ่มขึ้นหรือรายได้
ของบริษัทฯ ลดลง อาจทำาให้บริษัทฯ มีความตึงตัวด้านสภาพคล่อง และอาจมีต้นทุน