Page 95 - BTSGroup ONE REPORT 2021/22_TH
P. 95
บริิษััท บีทีเอส กริุป โฮลดิ้ิ�งส์ จำำ�กัดิ้ (มห�ชน) 4.3 การบริหารจััดการความเสี่่�ยง 93
ริ�ยง�นปริะจำำ�ปี 2564/65
4.3 การุ๊บีรุ๊ิหารุ๊จัดการุ๊ความ่เสี�ยุง
บริษัทฯ ตระหนักถึงความสำาคัญของการบริหารความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk โครุ๊งสรุ๊้างการุ๊บีรุ๊ิหารุ๊ความ่เสี�ยุงองค์กรุ๊
Management) ในการบริหารจัดการความเสี่ยงตามหลักการกำากับดูแลกิจการที่ดี โครงสร้างการบริหารความเสี่ยงองค์กรของบริษัทฯ กำาหนดบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบ
โดยบริษัทฯ เชื่อว่าการบริหารความเสี่ยงเป็นหนึ่งในกลยุทธ์หลัก ที่จะช่วยให้กลุ่มบริษัทบรรลุ (Roles and Responsibilities) และภาระความรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ (Accountability)
เป้าหมายทางธุรกิจที่กำาหนดไว้และเติบโตอย่างยั่งยืน อีกทั้งการดำาเนินธุรกิจในปัจจุบัน ของผู้ที่เกี่ยวข้องในกระบวนการบริหารความเสี่ยง รวมถึงกำาหนดผู้มีอำานาจในการตัดสินใจ
ประสบกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมทางธุรกิจและปัจจัยเสี่ยงใหม่ ๆ ที่มีแนวโน้ม ในการบริหารความเสี่ยงองค์กรของกลุ่มบริษัท โครงสร้างการจัดการข้อมูลความเสี่ยงและ
ทวีความรุนแรงมากขึ้น การบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพจะช่วยเพิ่มความสามารถ การรายงานความเสี่ยง
ขององค์กรในการรับมือกับการเปลี่ยนแปลง และลดโอกาสของความเสี่ยงหรือผลกระทบ
ที่อาจเกิดขึ้นจากความเสี่ยงดังกล่าวต่อธุรกิจของบริษัทฯ และกลุ่มบริษัทโดยรวม
• คณะกรรมการบริษัทมีความรับผิดชอบในการกำากับดูแลนโยบายของกลุ่มบริษัท
และแต่งตั้งกรรมการที่มีคุณสมบัติเหมาะสมเพื่อดำารงตำาแหน่งคณะกรรมการบริหาร
นโยุบีายุและกรุ๊อบีการุ๊บีรุ๊ิหารุ๊ความ่เสี�ยุง
ความเสี่ยง
คณะกรรมการบริษัทได้อนุมัตินโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กรของกลุ่มบริษัท • คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงมีความรับผิดชอบในการสอบทานนโยบายการบริหาร
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกำาหนดกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กร (ERM Framework) ความเสี่ยงของกลุ่มบริษัท และกำากับดูแลความมีประสิทธิผลของการบริหารความเสี่ยง
สำาหรับกลุ่มบริษัทที่ชัดเจน เหมาะสม และเพียงพอ รวมทั้งมอบหมายบทบาทหน้าที่และ ของกลุ่มบริษัท ครอบคลุมการดำาเนินงานหลักของบริษัทฯ ทุกด้าน พร้อมทั้งมี
ความรับผิดชอบ (Roles and Responsibilities) และกำาหนดภาระความรับผิดชอบ การติดตามความคืบหน้าของแผนจัดการความเสี่ยง (Mitigation Plan) และตัวชี้วัด
ื
ี
ในการปฏิบัติหน้าที่ (Accountability) ของผู้ที่เก่ยวข้องเพ่อให้สามารถบริหารจัดการ ความเสี่ยงที่สำาคัญ (Key Risk Indicators) ซึ่งเป็นเครื่องมือในการเตือนภัยล่วงหน้า
่
ความเสียงองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อกำาหนดมาตรการจัดการความเสี่ยงเพิ่มเติมได้ทันเหตุการณ์
• คณะทำางานด้านการบริหารความเสี่ยง (Group Risk Management Working Team)
นโยบายและกรอบการบริหารความเสี่ยงองค์กรของกลุ่มบริษัทมุ่งเน้นการบริหารจัดการ มีความรับผิดชอบในการสอบทานภาพความเสี่ยง (Risk Profile) ของกลุ่มบริษัท
ั
ื
ความเสี่ยงที่เข้มแข็ง มีกระบวนการบริหารความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ ตามมาตรฐานของ เพ่อให้ม่นใจว่าข้อมูลความเสี่ยงได้ปรับปรุงให้เป็นปัจจุบันและแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะสม
Committee of the Sponsoring Organisations of the Treadway Commission (COSO) หากเกิดการเปลี่ยนแปลงที่สำาคัญหรือมีความเสี่ยงที่สำาคัญเกิดขึ้นระหว่างปี รวมทั้ง
เพื่อให้กรรมการ ผู้บริหารและพนักงานทุกระดับขององค์กร ครอบคลุมทุกหน่วยธุรกิจ ติดตามความคืบหน้าของแผนการจัดการความเสี่ยง (Risk Mitigation Plan) ในระดับ
ุ
ในกล่มบริษัท สามารถบริหารจัดการความเสี่ยงได้มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงระดับความเสี่ยง กลุ่มบริษัทและนำาเสนอรายงานการบริหารความเสี่ยงของกลุ่มบริษัทต่อคณะกรรมการ
ำ
ที่ยอมรับได้ (Risk Appetite) และช่วงความเสี่ยงที่ยอมรับได้ (Risk Tolerance) ในการ บริหารความเสี่ยง
พิจารณาความเสี่ยงต่างๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้ประกอบการตัดสินใจทางธุรกิจ